ศูนย์ให้บริการสารสนเทศ

          สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่มากที่สุดในภาคตะวันออก และให้การตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยบูรพา ที่มุ่งมั่นพัฒนางานด้านต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทำให้เกิดความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน ในการนี้สำนักหอสมุดจึงจัดตั้งศูนย์ให้บริการสารสนเทศดิจิทัลที่พร้อมสำหรับการให้บริการสารสนเทศดิจิทัลที่ตอบสนองต่อการให้บริการสารสนเทศที่สอดคล้องกับความต้องการของบริษัท/องค์กร ภาคธุรกิจ ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยมีแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่สนับสนุน 12 อุตสาหกรรมเป้าหมายดังนี้

ข้อมูลจำนวนทรัพยากรสารสนเทศเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) Eastern Economic Corridor (EEC)
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
Eastern Economic Corridor (EEC)
แบ่งตาม 12 กลุ่มอุตสาหกรรม
จำนวนหนังสือที่มีตัวเล่มใน
ฐานข้อมูลห้องสมุด (OPAC)
(รายการ)
จำนวน Free
E-Book
(รายการ)
1. อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 44 23
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 120 36
3. อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 105 10
4. อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 198 12
5. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 156 14
6. อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ 53 11
7. อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ 208 20
8. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 104 7
9. อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 104 21
10. อุตสาหกรรมดิจิทัล 163 12
11. อุตสาหกรรมการป้องกันประเทศ 18 3
12. อุตสาหกรรมการพัฒนาบุคลากรและการศึกษา 161 5
รวม 1434 174

รายการ จำนวน (รายการ)
จำนวนหนังสือที่มีตัวเล่มใน ฐานข้อมูลห้องสมุด (OPAC) 1434
จำนวน E-book (ภาษาอังกฤษ) ในฐานข้อมูลห้องสมุด (OPAC) 422
จำนวน E-book (ภาษาไทย) ในฐานข้อมูลห้องสมุด (OPAC) 32
จำนวน E-book (ภำษำไทย) ในฐำนข้อมูลห้องสมุด (OPAC) 174
รวม 2062

การอบรม ARSA Framework กับการพัฒนาแอพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพา

     การอบรมเชิงปฏิบัติการ ARSA Framework กับการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในยุค Metaverse ขึ้น เพื่อให้บุคลากร และนิสิต มหาวิทยาลัยบูรพา เข้ารับการอบรมได้มีความรู้พื้นฐานและสามารถต่อยอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพาโดยใช้ ARSA Framework ไปสู่การปฏิบัติงานจริงได้

ลงทะเบียน ARSA Framework กับการพัฒนาแอพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพา

Reinventing University